วันพฤหัสบดีที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2554

สถานพยาบาลรัฐบาลในจังหวัดปทุมธานี

สถานพยาบาลรัฐบาลในจังหวัดปทุมธานี

รายชื่อสถานพยาบาลประกันสังคมและเครือข่ายตามประกาศสำนักงานประกันสังคม
สถานพยาบาลหลัก
สถานพยาบาลในระดับสูง
สถานพยาบาลในระดับรอง(เครือข่าย)
ที่ตั้งสถานพยาบาลในระดับรอง
  1.โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ 
ไม่มี
 
  95 ม.8 ถ.พหลโยธิน   
  ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง   
  จ.ปทุมธานี   
  โทร. 029269452-5   
    
  2.โรงพยาบาลปทุมธานี   โรงพยาบาลคลองหลวง  อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี
  7 ถ.ปทุมธานี-ลาดหลุมแก้ว   โรงพยาบาลธัญบุรี  อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี
  ตำบลบางปรอก อ.เมือ   โรงพยาบาลประชาธิปัติย์  อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี
  จ.ปทุมธานี โทร.025988744-7   โรงพยาบาลาดหลุมแก้ว  อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี
    โรงพยาบาลลำลูกกา  อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี
    โรงพยาบาลสามโคก  อ.สามโคก จ.ปทุมธานี
    โรงพยาบาลหนองเสือ  อ.หนองเสือ จ.ปทุมธานี
    สถานีอนามันทุกแห่งในจังหวัด 
    คลินิกปทุมธานีเวชกรรม  001 ถ.เจริญผลวัฒนา ต.บางปรอก อ.เมือง
     จ.ปทุมธานี โทร.02581 6105
    คลินิกแพทย์สุนันท์เวชกรรม 
    
    คลินิกเวชกรรม นายแพทย์สมศักดิ์ 
    
  คลินิกเวชกรรมแพทย์บุญรักษ์ 
    
    
    คลินิกเวชกรรมมุทิตา 
    
    คลินิกเวชกรรมวิภาวดีรังสิต 
    
    คลินิกเวชกรรมหมออภิชน 
    
    คลินิกหมอปรัชญา-ปราณีเวชกรรม 
    
    คลินิกหมอมณเฑียร 
    
    คลินิกหมอสุชาดาเวชกรรม 
    
  คลินิกหมอเอกพจน์ คลิกนิกเวชกรรม 
    
    
    ชัยยะการแพทย์ คลินิกเวชกรรม 
    
    
    พร้อมสินคลินิกเวชกรรม 
    
    รามารังสิตคลินิกเวชกรรม 
    
    สามโคกคลินิกเวชกรรม 
    

วัฒนธรรมประเพณีของจังหวัดปทุมธานี


วัฒนธรรมประเพณี
เปิงสงกรานต์ ทะแยมอญ การจุดลูกหนู การเล่นสะบ้า มาชุมนุมเล่นทอยลูกสะบ้ากัน จัดขึ้นในวันสงกรานต์เป็นการละเล่นพื้นบ้านของชาวมอญจัดขึ้นในวันสงกรานต์ตอนบ่ายๆ หนุ่มสาวชาวบ้านพบปะสมาคมกันอย่างใกล้ชิด โดยพวกผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่ายจะเปิดโอกาสให้ลูกหลานของตนแต่งกายให้สวยงาม เป็นประเพณีเผาศพพระภิกษุ-สามเณร
การรำพาข้าวสาร
ใช้ดอกไม้เพลิงเป็นฉนวน ร้อยด้วยเชือกฉนวน เมื่อจุดไฟ ไฟจะวิ่งตามฉนวนไปยังดอกไม้เพลิง ดอกไม้เพลิงจะวิ่งไปจุดไฟที่เมรุ
ประเพณีตักบาตรพระร้อย
ทุกโอกาสที่ต้องการความสนุกสนานครึกครื้น เป็นการละเล่นพื้นเมืองของหนุ่มสาวชาวมอญ มีลักษณะคล้ายหมอลำของภาคอีสาน หรือลำตัดของคนไทยภาคกลาง มีการร้องเพลงเกี้ยวพาราสีต่อปากต่อคำกัน
มอญรำ
เป็นประเพณีของชาวรามัญโบราณตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีการใช้ปี่พาทย์มอญเล่นประกอบการรำและการร้อง ใช้หญิงสาวจำนวน 8-12 คนขึ้นไปรำในงานพิธีมงคล โดยจะแต่งกายชุดของชาวมอญห่มสไบเฉียง เสื้อแขนยาวทรงกระบอกคอกลม เกล้าผมมวยรัดด้วยดอกมะลิ ทัดดอกไม้สดข้างหูและสวมกำไลที่ข้อเท้า
ทะแยมอญ 
เป็นประเพณีอันดีงามของชาวมอญในจังหวัดปทุมธานีที่ทำในเทศกาลออก พรรษาในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 เป็นต้นไป สืบทอดมานับร้อยปี ด้วยการนำ อาหารคาว-หวานลงเรือมาจอดเรียงรายริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาโดยมีเชือกขึงไว้ เป็นแนวเพื่อรอตักบาตร จากนั้นพระจากวัดต่าง ๆ ก็จะลงเรือมารับบิณฑบาตร จากเรือที่จอดอยู่โดยการสาวเชือกตั้งแต่ต้นจนสุดปลายเชือก หลังจากพิธีตัก บาตรในช่วงเช้าแล้ว ทางวัดจะจัดให้มีงานปิดทองนมัสการพระประธานใน โบสถ์ มีการแข่งเรือ และมหรสพพื้นบ้าน
การจุดลูกหนู
เป็นประเพณีของชาวมอญ นิยมทำกันหลังจากการออกพรรษา เป็นช่วงการ ทอดกฐินและทอดผ้าป่า คือ ถ้าวัดใดยังไม่มีการจองกฐิน หรือยังไม่ได้ทอดกฐิน ชาวบ้านก็จะช่วยกันจัดกฐินไปทอด โดยคณะผู้รำพาข้าวสารจะพายเรือไปจอด ที่หัวบันไดบ้าน แล้วจะร้องเพลงเชิญชวนให้ทำบุญ เช่น บริจาคข้าวสาร เงิน ทองและสิ่งของ เมื่อได้รับแล้วก็จะร้องเพลงอวยพรให้ผู้บริจาคมีความสุข ความเจริญ การรำพาข้าวสารจะเริ่มตั้งแต่ 19.00 น.ไปจนถึงเที่ยงคืนจึงเลิก และพากันกลับบ้านและในคืนต่อไปคณะรำพาข้าวสารก็จะพายเรือไปขอรับ บริจาคที่ตำบลอื่น ๆ จนกระทั่งเห็นว่าข้าวของที่ได้มาพอที่จะทอดกฐินแล้วจึง ยุติการรำพาข้าวสาร จากนั้นจึงนำสิ่งของที่ได้ไปทอดกฐินที่วัดนั้น
การเล่นสะบ้า
เป็นประเพณีสงกรานต์ ข้าวแช่ของชาวไทยรามัญ มีการนำข้าวสุกแช่ลงในน้ำ เย็นลอยดอกมะลิ พร้อมกับจัดอาหารคาวหวาน เป็นสำรับแล้วแห่ไปถวายพระ และญาติผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือในวันสงกรานต์ พอตกบ่ายก็จะมีการก่อพระ ทรายและร่วมปล่อยนกปล่อยปลา นำน้ำหอมไปสรงน้ำพระ และยกขบวนไปรด น้ำอวยพรผู้ใหญ่

วันพฤหัสบดีที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2554

อาหารและผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดปทุมธานี

ผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นชื่อ
เครื่องปั้นดินเผา มีความผูกพันกับการดำรงชีวิตของมนุษย์มาตั้งแต่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เพราะมนุษย์ได้ใช้เป็นเครื่องใช้ไม้สอยในชีวิต ประจำวัน บรรจุอาหารและสิ่งของ ฉะนั้นจึงได้มีการประดิษฐ์คิดค้น และปรับปรุงเทคโนโลยีต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลา จากการสำรวจแหล่งโบราณ คดีในประเทศไทย พบว่านับตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 15-16 เป็นต้นมา ในพื้นที่ของราชอาณาจักรไทยได้ปรากฏแหล่งเตาเผาตั้งกระจัดกระจาย อยู่มากมายหลายแห่ง รวมทั้งได้มีการค้นพบเครื่องปั้นดินเผาเป็นจำนวน มากมายหลายชนิดทั้งที่ผลิตจากแหล่งเตาเผาในราชอาณาจักรไทยและ ที่ผลิตจากแหล่งเตาในต่างประเทศ ซึ่งได้ถูกนำมาเพื่อใช้สอยและจำหน่าย ให้กับกลุ่มชนบางกลุ่ม เครื่องปั้นดินเผาเหล่านี้ถูกผลิตและตกแต่งด้วย เทคนิคและลวดลายที่แตกต่างกันออกไปตามความสามารถของช่างใน แต่ละท้องถิ่นหรือตามสภาพที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของแต่ละชุมชน ซึ่ง บางแห่งอาจมีแหล่งดินที่อุดมสมบูรณ์เอื้ออำนวยต่อการผลิตเครื่องปั้น ดินเผา นอกจากนี้ จากการที่ชุมชนบางแห่งมีพื้นที่ติดต่อกันหรือมีการ ทำการค้าร่วมกัน จึงทำให้อิทธิพลต่าง ๆ สามารถส่งผ่านไปยังอีกชุมชน หนึ่งได้อย่างง่ายดายก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนศิลปะและเทคโนโลยี ซึ่งกันและกัน
อาหารที่นิยม

แกงเขียวหวานนั้น เป็นแกงกะทิซึ่งเป็นที่คุ้นเคยของคนไทยทุกคนเป็นอย่างดี เพราะมีรสชาติกลมกล่อม รับประทานง่าย ยิ่งถ้าได้ข้าวสวยร้อนๆ สักจาน ราดด้วยแกงเขียวหวานก็อิ่มไปได้อีกหนึ่งมื้อ และนอกจากที่แกงเขียวหวานจะรับประทานกับข้าวสวยร้อนๆ แล้ว ขนมจีนแกงไก่ก็ถือว่าเป็นอาหารจานวิเศษอีกอย่างหนึ่งที่ถูกปาก ถูกคอนักชิมทั้งหลาย นอกจากนี้ก็ยังมีคนคิดดัดแปลงนำเอาแกงเขียวหวานไปรับประทานคู่กับโรตี ก็เข้าท่า เข้าทีดีเหมือนกัน แต่ท่านผู้อ่านเคยทราบไหมครับว่า ชื่อ แกงเขียวหวานนั้น เขามีความเป็นมาอย่างไร ผมเชื่อแน่ว่า เกินครึ่งจะต้องตอบว่าที่แกงเขียวหวานมีชื่อนี้ก็เพราะว่า แกงเขียวหวานเป็นแกงที่มีสีเขียว และมีรสหวาน เหมือนกับบรรดาเหล่าลูกศิษย์ของผมบางคน ที่เคยได้เรียน ได้สอนกันมาหลายต่อหลายรุ่น แกงเขียวหวานนั้น เป็นแกงที่มีสีเขียว ซึ่งได้มาจากการใช้พริกสดสีเขียว โขลกผสมลงไปในเครื่องแกง แทนการใช้พริกแห้งสีแดงอย่างพริกแกงทั่วๆ ไป โดยชนิดของพริกที่ใช้ก็มีใช้ทั้งพริกชี้ฟ้า และพริกขี้หนู ดังนั้นแกงเขียวหวาน จึงได้เป็นแกงที่มีสีเขียว แตกต่างจากแกงทั่วๆ ไปที่มีสีค่อนไปทาง แดง ส้ม หรือน้ำตาล ที่เกิดจากสีของพริกแห้งสีแดงในพริกแกง ดังนั้นแกงเขียวหวานจึงมีสีที่เป็นเอกลักษณ์ซึ่งถือว่าโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัว ไม่เหมือนกับแกงไหนๆ ส่วนเรื่องของรสชาตินั้น ในสมัยโบราณ การปรุงรสแกงเขียวหวานนั้น จะปรุงเพียงแต่รสเค็มเท่านั้น ส่วนรสหวานจะได้จากความหวานโดยธรรมชาติ ของกะทิ เนื้อสัตว์ และผักหญ้าจำพวก มะเขือ จึงไม่จำเป็นต้องปรุงรสหวานลงไปในแกง ดังนั้นจึงเห็นได้ว่า รสหวานของแกงนั้นเป็นรสหวานอย่างธรรมชาติ ไม่ใช่หวานแหลมเสียจนแสบคอ และรสเด่นของแกงเขียวหวานก็คือรสเค็มที่ต้องนำ ตามมาด้วยหวาน แต่ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นผักหญ้า กะทิ หรือเนื้อสัตว์ ก็ขาดความสดใหม่ ไม่เหมือนกับในอดีต จึงทำให้ความหวานจากธรรมชาติ ไม่เพียงพออีกต่อไป ปัจจุบันจึงได้มีการอนุโลมให้ใส่น้ำตาลลงไปในแกงได้ เพื่อช่วยให้แกงมีรสหวานมากขึ้น แต่ก็ควรปรุงแบบมีมารยาท ไม่ใช่ตักใส่แบบโครมๆ อย่างขาดสติ เสียจนหวานนำ เพราะจะทำให้เสียเอกลักษณ์ของอาหารจานนี้ไป